เนื้อหาทั้งหมด

รายละเอียด >>
ส่วนของเนื้อหาทั้งหมดที่มีในเว็บไซต์ DozzDIY ครอบคลุมทั้งบทความที่รับชมได้แบบสาธารณะ, บทความพรีเมียมโดยผู้สอนที่บริการเฉพาะผู้สนับสนุน ตลอดจนข่าวสารสาระอื่นๆ และเนื้อหาที่ไม่เกี่ยวข้องทั้งหมดจากเรา

หมวดหมู่บทความ >
รูปแบบสีที่ช่างภาพควรรู้

เรียนรู้ 3 รูปแบบสีสำหรับช่างภาพเพื่อให้เข้าใจถึงความแตกต่างในการนำไปใช้ให้เหมาะสมบนสื่อต่างๆ

สีสัน, ความอิ่มตัว และ ความสว่างในโปรแกรมตกแต่งภาพถ่าย

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ สีสัน, ความอิ่มตัว และ ความสว่าง ซึ่งเป็นคุณลักษณะของสีเพื่อต่อยอดความสามารถในการสร้างสรรค์ภาพถ่ายสีให้ดีมากยิ่งขึ้น

เฉดสี, โทนสี และ ทินท์สี

ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของ เฉด (Shades), โทน (Tones) และ ทินท์ (Tints) ซึ่งจะช่วยให้ช่างภาพนำไปประยุกต์ใช้กับเครื่องมือหรือการทำงานด้านอื่นเกี่ยวกับสีได้ดียิ่งขึ้น

สร้างความน่าสนใจด้วยเส้นแกนนอน

เรียนรู้ความหลากหลายของรูปแบบเส้นเพื่อสร้างจุดสนใจประเภท ‘เส้นแกนนอน’ (Horizontal Lines) สำหรับประยุกต์ใช้งานกับการถ่ายภาพนิ่ง

ความเร็วชัตเตอร์ที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ

คำแนะนำในการเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ดีเพียงพอต่อการบันทึกสิ่งต่างๆที่กำลังเคลื่อนไหวให้นิ่งสนิทโดยตัดสิ่งรบกวนอื่นออกไป นอกเหนือจากกฏความเร็วชัตเตอร์สองเท่า

ความเข้าใจเกี่ยวกับภาพ 8 บิต และ 16 บิต

ศึกษาความแตกต่างของภาพถ่าย 8 บิต และ 16 บิต เพื่อทำความเข้าใจว่าทำไมเราจึงควรทำงานกับภาพที่มีข้อมูลสูงก่อนนำมาแปลงเป็นข้อมูลที่เหมาะสมกับแหล่งเผยแพร่ต่างๆ

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์และทางยาวโฟกัส

ศึกษาความสัมพันธ์ซึ่งเป็นผลกระทบระหว่างความเร็วชัตเตอร์และทางยาวโฟกัสเพื่อเพิ่มโอกาสได้ภาพในเงื่อนไขของเลนส์ทางยาวโฟกัสชนิดต่างๆที่มากยิ่งขึ้น ทักษะดังกล่าวนี้จะช่วยให้ช่างภาพรู้ตัวอยู่เสมอว่าความเร็วชัตเตอร์คือ 1 ในตัวแปรที่อ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อมนอกเหนือจากตัวแปรหลักที่เรียนกันในการบันทึกภาพ

มุมมองของภาพถ่าย

มุมมองที่มีความน่าสนใจเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ผู้รับชมภาพตัดสินใจว่าภาพนั้นดีหรือไม่ดี ทั้งเป็นเรื่องที่ว่ากันว่าเกิดขึ้นจากจินตนาการของผู้บันทึกอย่างเฉพาะตัวเท่านั้นไม่สามารถถ่ายทอดให้กันได้ อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะจริงหรือไม่จริงบทความนี้จะกล่าวถึงมุมมองหลักๆ 4 รูปแบบที่มีในภาพถ่ายครับ

ปรับขนาดและความคมชัดให้กับภาพอย่างถูกต้อง

การนำภาพถ่ายดิจิตอลไปเผยแพร่ตามแหล่งต่างๆที่มีข้อกำหนดไม่เหมือนกัน ทักษะความรู้ในการปรับขนาดภาพ (ที่หมายความถึงการย่อและขยาย) และการปรับความคมชัดคือสิ่งจำเป็นอย่างมากที่จะไม่ทำให้ทุกอย่างที่เราตกแต่งมาสูญเปล่า

ไฟล์ภาพต้นฉบับคุณภาพสูงบันทึกอย่างไร?

ศึกษาเหตุปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพของภาพถ่ายดิจิตอลก่อนการบันทึก เพื่อเพิ่มความเข้าใจและสามารถนำไปปรับปรุงใช้ในระบบการถ่ายภาพที่มีอยู่เดิมให้ดียิ่งขึ้น

รูปแบบสีที่ช่างภาพควรรู้

เรียนรู้ 3 รูปแบบสีสำหรับช่างภาพเพื่อให้เข้าใจถึงความแตกต่างในการนำไปใช้ให้เหมาะสมบนสื่อต่างๆ

สีสัน, ความอิ่มตัว และ ความสว่างในโปรแกรมตกแต่งภาพถ่าย

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ สีสัน, ความอิ่มตัว และ ความสว่าง ซึ่งเป็นคุณลักษณะของสีเพื่อต่อยอดความสามารถในการสร้างสรรค์ภาพถ่ายสีให้ดีมากยิ่งขึ้น

เฉดสี, โทนสี และ ทินท์สี

ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของ เฉด (Shades), โทน (Tones) และ ทินท์ (Tints) ซึ่งจะช่วยให้ช่างภาพนำไปประยุกต์ใช้กับเครื่องมือหรือการทำงานด้านอื่นเกี่ยวกับสีได้ดียิ่งขึ้น

สร้างความน่าสนใจด้วยเส้นแกนนอน

เรียนรู้ความหลากหลายของรูปแบบเส้นเพื่อสร้างจุดสนใจประเภท ‘เส้นแกนนอน’ (Horizontal Lines) สำหรับประยุกต์ใช้งานกับการถ่ายภาพนิ่ง

ความเร็วชัตเตอร์ที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ

คำแนะนำในการเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ดีเพียงพอต่อการบันทึกสิ่งต่างๆที่กำลังเคลื่อนไหวให้นิ่งสนิทโดยตัดสิ่งรบกวนอื่นออกไป นอกเหนือจากกฏความเร็วชัตเตอร์สองเท่า

ความเข้าใจเกี่ยวกับภาพ 8 บิต และ 16 บิต

ศึกษาความแตกต่างของภาพถ่าย 8 บิต และ 16 บิต เพื่อทำความเข้าใจว่าทำไมเราจึงควรทำงานกับภาพที่มีข้อมูลสูงก่อนนำมาแปลงเป็นข้อมูลที่เหมาะสมกับแหล่งเผยแพร่ต่างๆ

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์และทางยาวโฟกัส

ศึกษาความสัมพันธ์ซึ่งเป็นผลกระทบระหว่างความเร็วชัตเตอร์และทางยาวโฟกัสเพื่อเพิ่มโอกาสได้ภาพในเงื่อนไขของเลนส์ทางยาวโฟกัสชนิดต่างๆที่มากยิ่งขึ้น ทักษะดังกล่าวนี้จะช่วยให้ช่างภาพรู้ตัวอยู่เสมอว่าความเร็วชัตเตอร์คือ 1 ในตัวแปรที่อ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อมนอกเหนือจากตัวแปรหลักที่เรียนกันในการบันทึกภาพ

มุมมองของภาพถ่าย

มุมมองที่มีความน่าสนใจเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ผู้รับชมภาพตัดสินใจว่าภาพนั้นดีหรือไม่ดี ทั้งเป็นเรื่องที่ว่ากันว่าเกิดขึ้นจากจินตนาการของผู้บันทึกอย่างเฉพาะตัวเท่านั้นไม่สามารถถ่ายทอดให้กันได้ อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะจริงหรือไม่จริงบทความนี้จะกล่าวถึงมุมมองหลักๆ 4 รูปแบบที่มีในภาพถ่ายครับ

ปรับขนาดและความคมชัดให้กับภาพอย่างถูกต้อง

การนำภาพถ่ายดิจิตอลไปเผยแพร่ตามแหล่งต่างๆที่มีข้อกำหนดไม่เหมือนกัน ทักษะความรู้ในการปรับขนาดภาพ (ที่หมายความถึงการย่อและขยาย) และการปรับความคมชัดคือสิ่งจำเป็นอย่างมากที่จะไม่ทำให้ทุกอย่างที่เราตกแต่งมาสูญเปล่า

ไฟล์ภาพต้นฉบับคุณภาพสูงบันทึกอย่างไร?

ศึกษาเหตุปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพของภาพถ่ายดิจิตอลก่อนการบันทึก เพื่อเพิ่มความเข้าใจและสามารถนำไปปรับปรุงใช้ในระบบการถ่ายภาพที่มีอยู่เดิมให้ดียิ่งขึ้น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลวส่วนบบุคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ

บันทึกการตั้งค่า