เนื้อหาทั้งหมด

รายละเอียด >>
ส่วนของเนื้อหาทั้งหมดที่มีในเว็บไซต์ DozzDIY ครอบคลุมทั้งบทความที่รับชมได้แบบสาธารณะ, บทความพรีเมียมโดยผู้สอนที่บริการเฉพาะผู้สนับสนุน ตลอดจนข่าวสารสาระอื่นๆ และเนื้อหาที่ไม่เกี่ยวข้องทั้งหมดจากเรา

หมวดหมู่บทความ >
เมื่อ Zone System ไม่จำเป็นอีกต่อไปในภาพขาวดำดิจิตอล

Zone System คืออะไร? และทำไมจึงไม่สำคัญในการทำภาพขาวดำ บทความนี้ชี้ให้เห็นว่าความจริงเราก็ทำภาพขาวดำได้ดีโดยไม่จำเป็นต้องมีองค์ความรู้นี้ก็ได้นะ

ภาพถ่ายคุณภาพสูงมีปัจจัยอะไรบ้าง?

การถ่ายภาพให้มีคุณภาพสูงมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ถือเป็น 1 รากฐานสำคัญที่ทางผู้สอนและทีมงาน DozzDIY พยายามปลูกฝังให้กับผู้เรียนและผู้ที่เข้ารับการฝึกฝนจากเราจนเป็นความเคยชิน ดังที่ผู้เรียนในหลักสูตร ‘หลักการถ่ายภาพพื้นฐาน’ (Basic Photography : Newbie QuickStart) เพราะหากเรามีรากฐานที่แข็งแรงเมื่อมีโอกาสต่อยอดความรู้ในลำดับต่อๆไปจะเป็นเรื่องที่ง่ายดายขึ้นมาก บทความนี้จึงมีเนื้อหาที่สำคัญซึ่งจะช่วยปรับปรุงให้กับผู้ที่ไม่ทราบมาก่อน และช่วยทบทวนความรู้ความเข้าใจกับผู้ที่เคยเรียนกับเราไปแล้ว

เสริมความสามารถในการโฟกัสภาพแบบแมนนวล

ความผิดพลาดในการโฟกัสที่มีสาเหตุมาจากระบบของตัวกล้องจวบจนถึงปัจจุบันทำให้ใครหลายคนพลาดวาระสำคัญในชีวิตไปมากมาย จนเราไม่อาจให้ความเชื่อมั่นกับระบบอัตโนมัติ และหนทางในการแก้ปัญหาที่ดีวิธีหนึ่งคือการเลือกกำหนดโฟกัสด้วยตัวเอง

ความสัมพันธ์ 3 ปัจจัยในการรับแสง (The Exposure Triangle)

The Exposure Triangle หมายถึงความสัมพันธ์ซึ่งส่งผลต่อปริมาณแสงที่กล้องถ่ายภาพได้รับ สามตัวแปรสำคัญนี้ได้แก่ขนาดของรูรับแสง (Aperture), ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed) และ ความไวแสง (ISO) รูปภาพทุกรูปที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นจากกล้องดิจิตอลหรือกล้องฟิล์มเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ทั้งสิ้น ดังนั้นการทำความเข้าใจเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ

เลนส์ไวแสง : สุดยอดปรารถนาของช่างภาพทุกค่าย

ผู้ที่มีพื้นฐานในการถ่ายภาพมาบ้างคงพอทราบแล้วว่า ‘รูรับแสง’ (Aperture) เป็นปัจจัยหนึ่งเพื่อใช้กำหนดปริมาณแสงที่จะหลั่งไหลไปยังเซ็นเซอร์รูปภาพ ยิ่งเราเปิดรูรับแสงให้กว้างมากเท่าไร เซ็นเซอร์ก็จะบรรจุแสงนำไปประมวลผลในขั้นตอนการสร้างภาพถ่ายได้เร็วขึ้นเท่านั้น บทความนี้จึงมีการพูดถึงเลนส์ไวแสงในแง่ของความหมาย ความสามารถ และการเปรียบเทียบกับเลนส์แบบเดียวกันที่มีไวแสงน้อยกว่า

รายละเอียดที่หายไปในภาพถ่ายแนวสมจริง

ปริมาณของแสงนั้นส่งผลต่อภาพที่กล้องบันทึกได้ ถ้าสถานการณ์ของแสงที่กำลังบันทึกมีปริมาณมากเราก็บันทึกภาพด้วยเวลาที่น้อยลง หรือถ้าเป็นเวลากลางคืนที่มีแสงน้อยเราก็ต้องให้กล้องเก็บแสงนานขึ้น สิ่งเหล่านี้มักมีผลพวงที่ไม่พึงประสงค์สำหรับหลายๆคนอยู่เสมอ นั่นคือการที่กล้องไม่มีความสามารถมากพอที่จะเก็บรายละเอียดได้หมดดังที่ตาเราเห็น

คาเฟอีนส่งผลต่อประสิทธิภาพในการถ่ายภาพอย่างไร

คาเฟอีนในหลักของ อยุรเวท (ศาสตร์แห่งชีวิต) จัดเป็นสารกระตุ้นที่เพิ่มอัตราการเลื่อนไหลของสิ่งต่างๆในร่างกาย (อากาศและลม) ซึ่งในแต่ละวันร่างกายมนุษย์จะมีช่วงที่ดีที่สุดของสมดุลต่างๆไม่เหมือนกัน เช่น การขยับตัวของลำไส้จะเกิดขึ้นในช่วง 7 นาฬิกาเป็นต้นไป หรือการหลั่งฮอร์โมนซ่อมแซมที่จะเกิดขึ้นในช่วงเที่ยงคืนถึงตีหนึ่งเท่านั้น การรับสารคาเฟอีนด้วยความเข้าใจของธรรมชาติร่างกายจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถดึงศักยภาพสูงสุดของตัวเองออกมาได้อย่างถูกต้อง และเพิ่มประสิทธิภาพให้กับงานที่ทำได้อย่างเห็นผลชัดเจนโดยที่ไม่เกิดผลเสียต่อร่างกายมากเกินไป

การถ่ายภาพดอกไม้ไฟ

มักมีคนถามผู้สอนเข้ามาอยู่เสมอว่าพวกเขาควรจะถ่ายภาพดอกไม้ไฟที่กำลังจะเกิดขึ้นในช่วงเทศกาลอย่างไรให้ออกมาดูดีที่สุด (ถามคนที่ไม่ค่อยได้ถ่ายดอกไม้ไฟเนี่ยนะ) ซึ่งแม้ว่าเนื้อหาในการถ่ายดอกไม้ไฟจะอยู่ในหลักสูตร ‘หลักการถ่ายภาพพื้นฐาน’ ของเราอยู่แล้ว แต่บทความนี้จะอธิบายถึงกระบวนการและข้อปฏิบัติง่ายๆที่ใครๆก็สามารถนำไปใช้ได้เลย

เมื่อ Zone System ไม่จำเป็นอีกต่อไปในภาพขาวดำดิจิตอล

Zone System คืออะไร? และทำไมจึงไม่สำคัญในการทำภาพขาวดำ บทความนี้ชี้ให้เห็นว่าความจริงเราก็ทำภาพขาวดำได้ดีโดยไม่จำเป็นต้องมีองค์ความรู้นี้ก็ได้นะ

ภาพถ่ายคุณภาพสูงมีปัจจัยอะไรบ้าง?

การถ่ายภาพให้มีคุณภาพสูงมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ถือเป็น 1 รากฐานสำคัญที่ทางผู้สอนและทีมงาน DozzDIY พยายามปลูกฝังให้กับผู้เรียนและผู้ที่เข้ารับการฝึกฝนจากเราจนเป็นความเคยชิน ดังที่ผู้เรียนในหลักสูตร ‘หลักการถ่ายภาพพื้นฐาน’ (Basic Photography : Newbie QuickStart) เพราะหากเรามีรากฐานที่แข็งแรงเมื่อมีโอกาสต่อยอดความรู้ในลำดับต่อๆไปจะเป็นเรื่องที่ง่ายดายขึ้นมาก บทความนี้จึงมีเนื้อหาที่สำคัญซึ่งจะช่วยปรับปรุงให้กับผู้ที่ไม่ทราบมาก่อน และช่วยทบทวนความรู้ความเข้าใจกับผู้ที่เคยเรียนกับเราไปแล้ว

เสริมความสามารถในการโฟกัสภาพแบบแมนนวล

ความผิดพลาดในการโฟกัสที่มีสาเหตุมาจากระบบของตัวกล้องจวบจนถึงปัจจุบันทำให้ใครหลายคนพลาดวาระสำคัญในชีวิตไปมากมาย จนเราไม่อาจให้ความเชื่อมั่นกับระบบอัตโนมัติ และหนทางในการแก้ปัญหาที่ดีวิธีหนึ่งคือการเลือกกำหนดโฟกัสด้วยตัวเอง

ความสัมพันธ์ 3 ปัจจัยในการรับแสง (The Exposure Triangle)

The Exposure Triangle หมายถึงความสัมพันธ์ซึ่งส่งผลต่อปริมาณแสงที่กล้องถ่ายภาพได้รับ สามตัวแปรสำคัญนี้ได้แก่ขนาดของรูรับแสง (Aperture), ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed) และ ความไวแสง (ISO) รูปภาพทุกรูปที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นจากกล้องดิจิตอลหรือกล้องฟิล์มเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ทั้งสิ้น ดังนั้นการทำความเข้าใจเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ

เลนส์ไวแสง : สุดยอดปรารถนาของช่างภาพทุกค่าย

ผู้ที่มีพื้นฐานในการถ่ายภาพมาบ้างคงพอทราบแล้วว่า ‘รูรับแสง’ (Aperture) เป็นปัจจัยหนึ่งเพื่อใช้กำหนดปริมาณแสงที่จะหลั่งไหลไปยังเซ็นเซอร์รูปภาพ ยิ่งเราเปิดรูรับแสงให้กว้างมากเท่าไร เซ็นเซอร์ก็จะบรรจุแสงนำไปประมวลผลในขั้นตอนการสร้างภาพถ่ายได้เร็วขึ้นเท่านั้น บทความนี้จึงมีการพูดถึงเลนส์ไวแสงในแง่ของความหมาย ความสามารถ และการเปรียบเทียบกับเลนส์แบบเดียวกันที่มีไวแสงน้อยกว่า

รายละเอียดที่หายไปในภาพถ่ายแนวสมจริง

ปริมาณของแสงนั้นส่งผลต่อภาพที่กล้องบันทึกได้ ถ้าสถานการณ์ของแสงที่กำลังบันทึกมีปริมาณมากเราก็บันทึกภาพด้วยเวลาที่น้อยลง หรือถ้าเป็นเวลากลางคืนที่มีแสงน้อยเราก็ต้องให้กล้องเก็บแสงนานขึ้น สิ่งเหล่านี้มักมีผลพวงที่ไม่พึงประสงค์สำหรับหลายๆคนอยู่เสมอ นั่นคือการที่กล้องไม่มีความสามารถมากพอที่จะเก็บรายละเอียดได้หมดดังที่ตาเราเห็น

คาเฟอีนส่งผลต่อประสิทธิภาพในการถ่ายภาพอย่างไร

คาเฟอีนในหลักของ อยุรเวท (ศาสตร์แห่งชีวิต) จัดเป็นสารกระตุ้นที่เพิ่มอัตราการเลื่อนไหลของสิ่งต่างๆในร่างกาย (อากาศและลม) ซึ่งในแต่ละวันร่างกายมนุษย์จะมีช่วงที่ดีที่สุดของสมดุลต่างๆไม่เหมือนกัน เช่น การขยับตัวของลำไส้จะเกิดขึ้นในช่วง 7 นาฬิกาเป็นต้นไป หรือการหลั่งฮอร์โมนซ่อมแซมที่จะเกิดขึ้นในช่วงเที่ยงคืนถึงตีหนึ่งเท่านั้น การรับสารคาเฟอีนด้วยความเข้าใจของธรรมชาติร่างกายจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถดึงศักยภาพสูงสุดของตัวเองออกมาได้อย่างถูกต้อง และเพิ่มประสิทธิภาพให้กับงานที่ทำได้อย่างเห็นผลชัดเจนโดยที่ไม่เกิดผลเสียต่อร่างกายมากเกินไป

การถ่ายภาพดอกไม้ไฟ

มักมีคนถามผู้สอนเข้ามาอยู่เสมอว่าพวกเขาควรจะถ่ายภาพดอกไม้ไฟที่กำลังจะเกิดขึ้นในช่วงเทศกาลอย่างไรให้ออกมาดูดีที่สุด (ถามคนที่ไม่ค่อยได้ถ่ายดอกไม้ไฟเนี่ยนะ) ซึ่งแม้ว่าเนื้อหาในการถ่ายดอกไม้ไฟจะอยู่ในหลักสูตร ‘หลักการถ่ายภาพพื้นฐาน’ ของเราอยู่แล้ว แต่บทความนี้จะอธิบายถึงกระบวนการและข้อปฏิบัติง่ายๆที่ใครๆก็สามารถนำไปใช้ได้เลย

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลวส่วนบบุคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ

บันทึกการตั้งค่า