SD Quattro : หน้าจอแสดงการทำงานระหว่างกำลังบันทึกภาพ

หน้าจอแสดงการทำงานระหว่างกำลังบันทึกภาพ

หน้าจอหลัก – หน้าจอรอง

ช่องมองภาพ

1 โหมดการบันทึกภาพ 20 การควบคุมโทน
2 ฟิลเตอร์เอฟเฟกสมดุลแสงขาว 21 โทนเอฟเฟกโหมดของสีภาพ
3 ส่วนแจ้งเตือนการสั่นของกล้อง 22 ความเปรียบต่าง*
4 ล็อกแสง/ล็อกโฟกัส* 23 ความคมชัด*
5 โหมดครอปภาพสำหรับเลนส์ DC* 24 ความอิ่มตัว
6 ขนาดภาพ 25 ตัวล็อกสถานะ*
7 สัดส่วนภาพ 26 สัญลักษณ์ Eye-Fi*
8 คุณภาพไฟล์ภาพ 27 คาบการบันทึก*
9 โหมดถ่ายคร่อมอัตโนมัติ/โหมด SFD* 28 จำนวนภาพที่เหลือ
10 วัน/เวลา* 29 จำนวนช็อตที่บันทึกต่อเนื่องได้
11 กำหนดการถ่ายคร่อมเอง* 30 ความเร็วชัตเตอร์
12 โหมดตรวจจับใบหน้า* 31 ค่ารูรับแสง
13 โหมดโฟกัส 32 ตัววัดโฟกัส
14 โหมดแฟลช* 33 ตัววัดระดับแบตเตอรี่
15 ค่าตัวแปรไฟแฟลช* 34 ค่ารับแสง
16 ระดับระนาบอิเล็กทรอนิก* 35 ความไวแสง
17 เฟรมโฟกัส 36 โหมดวัดแสง
18 ฮิสโตแกรม* 37 โหมดการรับแสง
19 เครื่องหมายเตือนอุณหภูมิ 38 โหมดกำหนดเอง*

 

สัญลักษณ์กำกับ * แสดงต่อเมื่ออยู่ระหว่างการตั้งค่าเท่านั้น

สัญลักษณ์นี้จะแสดงเมื่อกล้องถ่ายภาพกำลังประมวลผลภาพถ่ายหลังจากที่ได้กดบันทึกเอาไว้ (ผู้ใช้จะไม่สามารถดำเนินการใดๆได้ระหว่างการแสดง)เครื่องหมายดังกล่าวนี้

สัญลักษณ์นี้แสดงเพื่อแจ้งผู้ใช้ว่าความเร็วชัตเตอร์เริ่มต่ำกว่าปกติที่จะบันทึกให้นิ่งได้

บทความที่เกี่ยวข้องในหมวดนี้
ฝึกฝนนิสัยถ่ายภาพด้วยเลนส์ไพร์ม

สิ่งที่ได้จากการใช้เลนส์ทางยาวโฟกัสเดียวไปสักระยะจะส่งผลต่อช่างภาพมือใหม่เพื่อฝึกฝนความอดทนและทลายขีดจำกัดของเลนส์ตัวนั้นได้อย่างไร เราจะได้เจาะลึกถึงการเติบโตด้วยข้อจำกัดเหล่านี้กัน

วิธีทำให้ภาพถ่ายดิจิตอลเหมือนภาพถ่ายฟิล์มแบบ 100%

เรียนรู้วิธีการที่จะทำให้ระบบบันทึกภาพถ่ายแบบดิจิตอลออกมาเหมือนกับภาพถ่ายที่เกิดจากกล้องฟิล์มแบบ 100% ใช่..มันเป็นไปได้ ว่าแต่คุณพร้อมหรือเปล่าที่จะเลือกเส้นทางนี้?

ควรใช้เลนส์ตัวไหนดีระหว่าง Sigma 24mm f/1.4, f/2 หรือ f/3.5?

มีคนสอบถามเข้ามาทางข้อความอยู่เรื่อยๆเกี่ยวกับเลนส์ Sigma ทางยาวโฟกัส 24mm ว่าทำมาทำไมตั้ง 3 ตัว แล้วจะเลือกซื้อยังไง? บทความนี้จึงจะอธิบายและคลายข้อสงสัยในการเลือกซื้อครับ

ร้านค้าออนไลน์ภายใต้ชื่อผู้ก่อตั้ง ‘Dozzo Flamenco’ ที่นี่จะมีผลิตภัณฑ์สื่อการสอนและเทรนนิ่งคลาสระดับคุณภาพเท่านั้น

บทความล่าสุด >>
เกรนกับความคมชัดของภาพถ่าย

ถ้าเพิ่มเกรนน้อยเกินไปภาพก็ดูเหมือนจะไม่มีความแตกต่าง แต่ถ้าใส่มากเกินไปภาพก็แข็งกระด้าง ดังนั้นควรมีเกรนในปริมาณเท่าใดในภาพจึงจะช่วยให้ภาพดูดีขึ้น และใช่ เรากำลังพูดถึงเกรนในมุมที่เกี่ยวข้องกับความคมชัดของภาพถ่ายครับ

การใช้งานคู่สีตรงข้าม

เรื่องของคู่สีรายล้อมรอบตัวเราอยู่ตลอดเวลา และ ‘คู่สีตรงข้าม’ (Complementary Colors) ก็จัดว่าเป็นการเข้าคู่ที่รุนแรงและทรงพลังอย่างมาก หากจะหยิบมาเพื่อใช้งานต้องเรียนรู้และเข้าใจวิธีหลีกเลี่ยงผลลัพธ์เชิงลบบางประการจึงจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลวส่วนบบุคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ

บันทึกการตั้งค่า