เนื้อหาทั้งหมด

รายละเอียด >>
ส่วนของเนื้อหาทั้งหมดที่มีในเว็บไซต์ DozzDIY ครอบคลุมทั้งบทความที่รับชมได้แบบสาธารณะ, บทความพรีเมียมโดยผู้สอนที่บริการเฉพาะผู้สนับสนุน ตลอดจนข่าวสารสาระอื่นๆ และเนื้อหาที่ไม่เกี่ยวข้องทั้งหมดจากเรา

หมวดหมู่บทความ >
ความแตกต่างระหว่างภาพ 8 บิต และ 16 บิต

ภาพถ่ายแบบ 16 บิต มีทางเลือกให้ช่างภาพเวลาตกแต่งแก้ไขอย่างมหาศาล แต่ 8 บิตเองก็มีข้อดีถ้าเรานำมาใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บทความนี้จึงเป็นการพิสูจน์ความืดหยุ่นและคำแนะนำวิธีเลือกใช้งานที่ถูกต้อง

เกรนกับความคมชัดของภาพถ่าย

ถ้าเพิ่มเกรนน้อยเกินไปภาพก็ดูเหมือนจะไม่มีความแตกต่าง แต่ถ้าใส่มากเกินไปภาพก็แข็งกระด้าง ดังนั้นควรมีเกรนในปริมาณเท่าใดในภาพจึงจะช่วยให้ภาพดูดีขึ้น และใช่ เรากำลังพูดถึงเกรนในมุมที่เกี่ยวข้องกับความคมชัดของภาพถ่ายครับ

เราจะตรวจสอบจุดล้นของภาพไปทำไม?

อุปกรณ์รับชมภาพถ่ายไม่ว่าจะเป็นหน้าจอหรือกระดาษต่างก็มีคุณสมบัติในการถ่ายทอดสีสันรวมไปถึงจุดสว่างที่สุดไปยังจุดมืดที่สุดในภาพแตกต่างกัน การแสวงหาความถูกต้องที่สุดในการมองเห็นแม้ว่าจะเป็นเรื่องที่หาความเป้นมาตรฐานได้ยาก แต่เราก็ยังพอรับรู้ได้ว่าอะไรคือขีดสุดของรายละเอียดที่กำลังปรากฏในขณะนั้นก่อนจะนำไปสู่อุปกรณืหรือแหล่งเผยแพร่อื่น ดังที่เรียกว่า จุดล้นของภาพ หรือ Clipping Point ใน Adobe Camera RAW นี้

จัดการน้อยส์อย่างมีประสิทธิภาพสูง

หลายครั้งที่คุณสมบัติปัญญาประดิษฐ์อย่าง Denoise ปิดกั้นหนทางลดน้อยส์เกินไป ถึงเวลาแล้วที่เราจะลดน้อยส์ด้วยธีที่ละเอียดมากกว่าอย่าง Manual Noise Reduction

การใช้งาน Masking Tools ฉบับสมบูรณ์

บทความสอนการใช้งานเครื่องมือกลุ่ม Masking Tools ทุกตัวอย่างละเอียดในแบบของ DozzDIY ที่กระชับและเข้าใจง่ายและครอบคลุมการเลือกพื้นที่ทุกรูปแบบ

ความเข้าใจเกี่ยวกับภาพ 8 บิต และ 16 บิต

ศึกษาความแตกต่างของภาพถ่าย 8 บิต และ 16 บิต เพื่อทำความเข้าใจว่าทำไมเราจึงควรทำงานกับภาพที่มีข้อมูลสูงก่อนนำมาแปลงเป็นข้อมูลที่เหมาะสมกับแหล่งเผยแพร่ต่างๆ

ภาพถ่ายคร่อมแสงเสมือนด้วยภาพถ่ายเพียงใบเดียว

พอจะมีวิธีอะไรบ้างที่สร้างภาพถ่ายช่วงการรับแสงกว้างๆ หรือภาพ HDR ได้โดยไม่ต้องเอาภาพที่มีแสงแบบต่างๆมารวมกันหลายๆใบ เนื้อหาส่วนนี้จึงสอนวิธีการทำภาพแบบนั้นที่ง่ายและสะดวกกว่ามากขึ้น

การทำภาพขาวดำแบบ High-Key และ Low-Key

เรียนรู้ความหมายของภาพถ่ายขาวดำแบบ High-Key และ Low-Key ตลอดจนแปลงภาพถ่ายสีให้กลายเป็นขาวดำในโปรแกรม Photoshop CC

กำหนดภาพขาวดำให้อยู่ในช่วงการมองเห็นด้วย Levels

หลักการ Zone System ของแอนเซลอดัมส์ทำให้เราแปลความหมายรูปแบบข้อมูลดิจิตอลบนกราฟฮิสโตแกรมได้ว่าควรอยู่ในช่วง 26-230 บทความนี้จึงจะสาธิตวิธีการทำภาพขาวดำแบบแสดงรายละเอียดสูงสุดด้วยเครื่องมือ Levels ใน Photoshop CC

3 วิธีในการแปลงภาพสีเป็นขาวดำ

การแปลงภาพถ่ายสีให้เป็นขาวดำนั้นดีว่าการนำภาพที่เป็นขาวดำอยู่แล้วมาทำต่อด้วยเหตุผลทางการแยกแยะส่วนต่างๆภายหลังนั้นง่ายกว่า บทความนี้คือเทคนิคในการแปลงภาพสีเป็นขาวดำในโปรแกรม Photoshop CC

ความแตกต่างระหว่างภาพ 8 บิต และ 16 บิต

ภาพถ่ายแบบ 16 บิต มีทางเลือกให้ช่างภาพเวลาตกแต่งแก้ไขอย่างมหาศาล แต่ 8 บิตเองก็มีข้อดีถ้าเรานำมาใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บทความนี้จึงเป็นการพิสูจน์ความืดหยุ่นและคำแนะนำวิธีเลือกใช้งานที่ถูกต้อง

เกรนกับความคมชัดของภาพถ่าย

ถ้าเพิ่มเกรนน้อยเกินไปภาพก็ดูเหมือนจะไม่มีความแตกต่าง แต่ถ้าใส่มากเกินไปภาพก็แข็งกระด้าง ดังนั้นควรมีเกรนในปริมาณเท่าใดในภาพจึงจะช่วยให้ภาพดูดีขึ้น และใช่ เรากำลังพูดถึงเกรนในมุมที่เกี่ยวข้องกับความคมชัดของภาพถ่ายครับ

เราจะตรวจสอบจุดล้นของภาพไปทำไม?

อุปกรณ์รับชมภาพถ่ายไม่ว่าจะเป็นหน้าจอหรือกระดาษต่างก็มีคุณสมบัติในการถ่ายทอดสีสันรวมไปถึงจุดสว่างที่สุดไปยังจุดมืดที่สุดในภาพแตกต่างกัน การแสวงหาความถูกต้องที่สุดในการมองเห็นแม้ว่าจะเป็นเรื่องที่หาความเป้นมาตรฐานได้ยาก แต่เราก็ยังพอรับรู้ได้ว่าอะไรคือขีดสุดของรายละเอียดที่กำลังปรากฏในขณะนั้นก่อนจะนำไปสู่อุปกรณืหรือแหล่งเผยแพร่อื่น ดังที่เรียกว่า จุดล้นของภาพ หรือ Clipping Point ใน Adobe Camera RAW นี้

จัดการน้อยส์อย่างมีประสิทธิภาพสูง

หลายครั้งที่คุณสมบัติปัญญาประดิษฐ์อย่าง Denoise ปิดกั้นหนทางลดน้อยส์เกินไป ถึงเวลาแล้วที่เราจะลดน้อยส์ด้วยธีที่ละเอียดมากกว่าอย่าง Manual Noise Reduction

การใช้งาน Masking Tools ฉบับสมบูรณ์

บทความสอนการใช้งานเครื่องมือกลุ่ม Masking Tools ทุกตัวอย่างละเอียดในแบบของ DozzDIY ที่กระชับและเข้าใจง่ายและครอบคลุมการเลือกพื้นที่ทุกรูปแบบ

ความเข้าใจเกี่ยวกับภาพ 8 บิต และ 16 บิต

ศึกษาความแตกต่างของภาพถ่าย 8 บิต และ 16 บิต เพื่อทำความเข้าใจว่าทำไมเราจึงควรทำงานกับภาพที่มีข้อมูลสูงก่อนนำมาแปลงเป็นข้อมูลที่เหมาะสมกับแหล่งเผยแพร่ต่างๆ

ภาพถ่ายคร่อมแสงเสมือนด้วยภาพถ่ายเพียงใบเดียว

พอจะมีวิธีอะไรบ้างที่สร้างภาพถ่ายช่วงการรับแสงกว้างๆ หรือภาพ HDR ได้โดยไม่ต้องเอาภาพที่มีแสงแบบต่างๆมารวมกันหลายๆใบ เนื้อหาส่วนนี้จึงสอนวิธีการทำภาพแบบนั้นที่ง่ายและสะดวกกว่ามากขึ้น

การทำภาพขาวดำแบบ High-Key และ Low-Key

เรียนรู้ความหมายของภาพถ่ายขาวดำแบบ High-Key และ Low-Key ตลอดจนแปลงภาพถ่ายสีให้กลายเป็นขาวดำในโปรแกรม Photoshop CC

กำหนดภาพขาวดำให้อยู่ในช่วงการมองเห็นด้วย Levels

หลักการ Zone System ของแอนเซลอดัมส์ทำให้เราแปลความหมายรูปแบบข้อมูลดิจิตอลบนกราฟฮิสโตแกรมได้ว่าควรอยู่ในช่วง 26-230 บทความนี้จึงจะสาธิตวิธีการทำภาพขาวดำแบบแสดงรายละเอียดสูงสุดด้วยเครื่องมือ Levels ใน Photoshop CC

3 วิธีในการแปลงภาพสีเป็นขาวดำ

การแปลงภาพถ่ายสีให้เป็นขาวดำนั้นดีว่าการนำภาพที่เป็นขาวดำอยู่แล้วมาทำต่อด้วยเหตุผลทางการแยกแยะส่วนต่างๆภายหลังนั้นง่ายกว่า บทความนี้คือเทคนิคในการแปลงภาพสีเป็นขาวดำในโปรแกรม Photoshop CC

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลวส่วนบบุคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ

บันทึกการตั้งค่า