เนื้อหาทั้งหมด

รายละเอียด >>
ส่วนของเนื้อหาทั้งหมดที่มีในเว็บไซต์ DozzDIY ครอบคลุมทั้งบทความที่รับชมได้แบบสาธารณะ, บทความพรีเมียมโดยผู้สอนที่บริการเฉพาะผู้สนับสนุน ตลอดจนข่าวสารสาระอื่นๆ และเนื้อหาที่ไม่เกี่ยวข้องทั้งหมดจากเรา

หมวดหมู่บทความ >
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้ถ่ายภาพดีขึ้นอย่างไร?

ปัจจัยชี้วัดว่าช่างภาพใช้รูปของพวกเขาได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ขึ้นอยู่กับเคล็ดลับหรือกลเม็ดต่างๆที่ได้ศึกษามา บทความนี้จะได้มีการอธิบายถึงที่มาที่ไปของศิลปศาสตร์สาขาการถ่ายภาพนิ่งในมุมของของกลไกการเล่าเรื่องที่ผลักดันด้วยวิทยาศาตร์เพื่อชี้ให้เห็นว่าแท้จริงแล้วองค์ความรู้นั้นท้ายที่สุดมีความเชื่อมโยงกันทั้งหมด

ความเร็วชัตเตอร์ที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ

คำแนะนำในการเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ดีเพียงพอต่อการบันทึกสิ่งต่างๆที่กำลังเคลื่อนไหวให้นิ่งสนิทโดยตัดสิ่งรบกวนอื่นออกไป นอกเหนือจากกฏความเร็วชัตเตอร์สองเท่า

ไฟล์ภาพต้นฉบับคุณภาพสูงบันทึกอย่างไร?

ศึกษาเหตุปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพของภาพถ่ายดิจิตอลก่อนการบันทึก เพื่อเพิ่มความเข้าใจและสามารถนำไปปรับปรุงใช้ในระบบการถ่ายภาพที่มีอยู่เดิมให้ดียิ่งขึ้น

พื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับ ‘ช่วงระยะชัด’

ช่วงระยะชัด (Depth of Field – ‘DoF’) เป็นความสำคัญอย่างหนึ่งที่ผู้รักการถ่ายภาพทุกท่านจำเป็นต้องทราบและมีความเข้าใจเป็นอย่างดีเพราะตัวแปรดังกล่าวนี้สามารถปรับปรุงฝีมือการถ่ายภาพเพื่อก้าวไปสู่ความเป็นผู้บันทึกภาพที่มีความชำนาญสูงยิ่งขึ้นไปได้

ภาพถ่ายคุณภาพสูงมีปัจจัยอะไรบ้าง?

การถ่ายภาพให้มีคุณภาพสูงมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ถือเป็น 1 รากฐานสำคัญที่ทางผู้สอนและทีมงาน DozzDIY พยายามปลูกฝังให้กับผู้เรียนและผู้ที่เข้ารับการฝึกฝนจากเราจนเป็นความเคยชิน ดังที่ผู้เรียนในหลักสูตร ‘หลักการถ่ายภาพพื้นฐาน’ (Basic Photography : Newbie QuickStart) เพราะหากเรามีรากฐานที่แข็งแรงเมื่อมีโอกาสต่อยอดความรู้ในลำดับต่อๆไปจะเป็นเรื่องที่ง่ายดายขึ้นมาก บทความนี้จึงมีเนื้อหาที่สำคัญซึ่งจะช่วยปรับปรุงให้กับผู้ที่ไม่ทราบมาก่อน และช่วยทบทวนความรู้ความเข้าใจกับผู้ที่เคยเรียนกับเราไปแล้ว

เสริมความสามารถในการโฟกัสภาพแบบแมนนวล

ความผิดพลาดในการโฟกัสที่มีสาเหตุมาจากระบบของตัวกล้องจวบจนถึงปัจจุบันทำให้ใครหลายคนพลาดวาระสำคัญในชีวิตไปมากมาย จนเราไม่อาจให้ความเชื่อมั่นกับระบบอัตโนมัติ และหนทางในการแก้ปัญหาที่ดีวิธีหนึ่งคือการเลือกกำหนดโฟกัสด้วยตัวเอง

สร้างความน่าสนใจให้กับภาพด้วย ‘แสง’

ทั้งหมดของการถ่ายภาพล้วนมีความสัมพันธ์กับแสง การบันทึกภาพระหว่างสภาพแสงที่สวยงามมีความเป็นไปได้สูงว่าเราจะได้ภาพที่ดี บทความนี้ถูกเขียนขึ้นจากความรู้และประสบการณ์ของผู้สอนในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมาซึ่งได้จากการถ่ายภาพ หวังว่าจะเป็นประโยชน์กับผู้เรียนของ DozzDIY ทุกท่าน

ความสัมพันธ์ 3 ปัจจัยในการรับแสง (The Exposure Triangle)

The Exposure Triangle หมายถึงความสัมพันธ์ซึ่งส่งผลต่อปริมาณแสงที่กล้องถ่ายภาพได้รับ สามตัวแปรสำคัญนี้ได้แก่ขนาดของรูรับแสง (Aperture), ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed) และ ความไวแสง (ISO) รูปภาพทุกรูปที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นจากกล้องดิจิตอลหรือกล้องฟิล์มเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ทั้งสิ้น ดังนั้นการทำความเข้าใจเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ

ทำไมต้องถ่ายภาพเป็นนามสกุล RAW?

กล้องถ่ายภาพดิจิตอลโดยส่วนใหญ่มักมีค่าที่ให้ผู้เรียนกำหนดเอาเองได้ว่าจะถ่ายภาพออกมาให้เป็นไฟล์ในรูปแบบของ RAW หรือ JPEG ซึ่งถ้าผู้เรียนไม่ทราบเรื่องนี้มาก่อนเราจะได้กล่าวถึงสิ่งเหล่านี้อย่างละเอียด และถ้าหากทราบโดยคร่าวๆอยู่แล้ว บทความนี้ก็จะเจาะลึกถึงความสำคัญของไฟล์ในแต่ละประเภทกัน

สร้างความน่าสนใจให้กับภาพด้วย ‘เส้นนำสายตา’

ในเฟสที่ 2 ของหลักสูตร ‘ศิลปะแห่งการจัดองค์ประกอบภาพถ่าย’ จาก DozzDIY เป็นการขยายความหมายของเนื้อหาจากรูปแบบ Speed-Concept ที่ได้ผ่านไปแล้วเป็นแบบการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง ว่าด้วยเรื่องของ ‘จุดสนใจ’ (Point of Interest) ว่าพอจะมีวิธีใดบ้างที่ทำให้ภาพถ่ายเกิดความน่าสนใจและมีความเห็นแบบเดียวกันกับผู้บันทึกภาพเมื่อชมภาพดังกล่าว เนื้อหาจะเป็นสาธารณะแบบไม่จัดเรียง แต่สำหรับคลิปวิดีโอเฉพาะผู้ที่ลงเรียนกับเราเท่านั้น

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้ถ่ายภาพดีขึ้นอย่างไร?

ปัจจัยชี้วัดว่าช่างภาพใช้รูปของพวกเขาได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ขึ้นอยู่กับเคล็ดลับหรือกลเม็ดต่างๆที่ได้ศึกษามา บทความนี้จะได้มีการอธิบายถึงที่มาที่ไปของศิลปศาสตร์สาขาการถ่ายภาพนิ่งในมุมของของกลไกการเล่าเรื่องที่ผลักดันด้วยวิทยาศาตร์เพื่อชี้ให้เห็นว่าแท้จริงแล้วองค์ความรู้นั้นท้ายที่สุดมีความเชื่อมโยงกันทั้งหมด

ความเร็วชัตเตอร์ที่เหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ

คำแนะนำในการเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ดีเพียงพอต่อการบันทึกสิ่งต่างๆที่กำลังเคลื่อนไหวให้นิ่งสนิทโดยตัดสิ่งรบกวนอื่นออกไป นอกเหนือจากกฏความเร็วชัตเตอร์สองเท่า

ไฟล์ภาพต้นฉบับคุณภาพสูงบันทึกอย่างไร?

ศึกษาเหตุปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพของภาพถ่ายดิจิตอลก่อนการบันทึก เพื่อเพิ่มความเข้าใจและสามารถนำไปปรับปรุงใช้ในระบบการถ่ายภาพที่มีอยู่เดิมให้ดียิ่งขึ้น

พื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับ ‘ช่วงระยะชัด’

ช่วงระยะชัด (Depth of Field – ‘DoF’) เป็นความสำคัญอย่างหนึ่งที่ผู้รักการถ่ายภาพทุกท่านจำเป็นต้องทราบและมีความเข้าใจเป็นอย่างดีเพราะตัวแปรดังกล่าวนี้สามารถปรับปรุงฝีมือการถ่ายภาพเพื่อก้าวไปสู่ความเป็นผู้บันทึกภาพที่มีความชำนาญสูงยิ่งขึ้นไปได้

ภาพถ่ายคุณภาพสูงมีปัจจัยอะไรบ้าง?

การถ่ายภาพให้มีคุณภาพสูงมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ถือเป็น 1 รากฐานสำคัญที่ทางผู้สอนและทีมงาน DozzDIY พยายามปลูกฝังให้กับผู้เรียนและผู้ที่เข้ารับการฝึกฝนจากเราจนเป็นความเคยชิน ดังที่ผู้เรียนในหลักสูตร ‘หลักการถ่ายภาพพื้นฐาน’ (Basic Photography : Newbie QuickStart) เพราะหากเรามีรากฐานที่แข็งแรงเมื่อมีโอกาสต่อยอดความรู้ในลำดับต่อๆไปจะเป็นเรื่องที่ง่ายดายขึ้นมาก บทความนี้จึงมีเนื้อหาที่สำคัญซึ่งจะช่วยปรับปรุงให้กับผู้ที่ไม่ทราบมาก่อน และช่วยทบทวนความรู้ความเข้าใจกับผู้ที่เคยเรียนกับเราไปแล้ว

เสริมความสามารถในการโฟกัสภาพแบบแมนนวล

ความผิดพลาดในการโฟกัสที่มีสาเหตุมาจากระบบของตัวกล้องจวบจนถึงปัจจุบันทำให้ใครหลายคนพลาดวาระสำคัญในชีวิตไปมากมาย จนเราไม่อาจให้ความเชื่อมั่นกับระบบอัตโนมัติ และหนทางในการแก้ปัญหาที่ดีวิธีหนึ่งคือการเลือกกำหนดโฟกัสด้วยตัวเอง

สร้างความน่าสนใจให้กับภาพด้วย ‘แสง’

ทั้งหมดของการถ่ายภาพล้วนมีความสัมพันธ์กับแสง การบันทึกภาพระหว่างสภาพแสงที่สวยงามมีความเป็นไปได้สูงว่าเราจะได้ภาพที่ดี บทความนี้ถูกเขียนขึ้นจากความรู้และประสบการณ์ของผู้สอนในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมาซึ่งได้จากการถ่ายภาพ หวังว่าจะเป็นประโยชน์กับผู้เรียนของ DozzDIY ทุกท่าน

ความสัมพันธ์ 3 ปัจจัยในการรับแสง (The Exposure Triangle)

The Exposure Triangle หมายถึงความสัมพันธ์ซึ่งส่งผลต่อปริมาณแสงที่กล้องถ่ายภาพได้รับ สามตัวแปรสำคัญนี้ได้แก่ขนาดของรูรับแสง (Aperture), ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed) และ ความไวแสง (ISO) รูปภาพทุกรูปที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นจากกล้องดิจิตอลหรือกล้องฟิล์มเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ทั้งสิ้น ดังนั้นการทำความเข้าใจเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ

ทำไมต้องถ่ายภาพเป็นนามสกุล RAW?

กล้องถ่ายภาพดิจิตอลโดยส่วนใหญ่มักมีค่าที่ให้ผู้เรียนกำหนดเอาเองได้ว่าจะถ่ายภาพออกมาให้เป็นไฟล์ในรูปแบบของ RAW หรือ JPEG ซึ่งถ้าผู้เรียนไม่ทราบเรื่องนี้มาก่อนเราจะได้กล่าวถึงสิ่งเหล่านี้อย่างละเอียด และถ้าหากทราบโดยคร่าวๆอยู่แล้ว บทความนี้ก็จะเจาะลึกถึงความสำคัญของไฟล์ในแต่ละประเภทกัน

สร้างความน่าสนใจให้กับภาพด้วย ‘เส้นนำสายตา’

ในเฟสที่ 2 ของหลักสูตร ‘ศิลปะแห่งการจัดองค์ประกอบภาพถ่าย’ จาก DozzDIY เป็นการขยายความหมายของเนื้อหาจากรูปแบบ Speed-Concept ที่ได้ผ่านไปแล้วเป็นแบบการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง ว่าด้วยเรื่องของ ‘จุดสนใจ’ (Point of Interest) ว่าพอจะมีวิธีใดบ้างที่ทำให้ภาพถ่ายเกิดความน่าสนใจและมีความเห็นแบบเดียวกันกับผู้บันทึกภาพเมื่อชมภาพดังกล่าว เนื้อหาจะเป็นสาธารณะแบบไม่จัดเรียง แต่สำหรับคลิปวิดีโอเฉพาะผู้ที่ลงเรียนกับเราเท่านั้น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลวส่วนบบุคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ

บันทึกการตั้งค่า